บทสรุป โควิด-19 กับผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย โดยกองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา
ตั้งแต่ช่วงต้น 2563 โควิด-19 เริ่มระบาดหนักทั่วทุกพื้นที่โลก การท่องเที่ยวถือได้รับผลกระทบอย่าง หนัก จากมาตรการการล็อคดาวน์ อย่างไรก็ตาม การร่วมมือร่วมใจกันระหว่างรัฐ บุคลากรทางการ แพททย์ และประชาชนทุกคน ทำให้ประทศไทยพื้นตัวขึ้นมาได้ค่อนข้างเร็ว และปัจจุบันสามารถเริ่ม ดำเนินนโยบายกระตุ้นการท่องเที่ยวได้แล้ว Chilpaina ชวนทุกคนย้อนดู บทสรุป โควิด-19 กับผลกระ ทบต่อการท่องเที่ยวไทย โดยกองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา ไทม์ไลน์พิษโดวิด-19 กับการท่องเที่ยวไทย
เดือนมกราคม - มีนาคม
ไวรัสโควิด-19 ระบาดไปทั่วโลก ส่งผลกระทบต่อทั้งเศรษฐกิจโลกโดยรวม รวมถึงภาคการท่องเที่ยวที่ได้ รับผลกระทบจากข้อจำกัดการเดินทาง ทำให้จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั่วโลกลดลง จำนวนนกท่องเที่ยวต่างชาติในไทยในวงไตรมาสที่ 1 ของปี 2563 ลดลงร้อยละ 38.01 และจำนวนนัก ท่องเที่ยวไทยเที่ยวไทยลดลงด้วย เช่นกันในอัตราร้อยละ 30.77 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา
วันนี้ ขอให้นักท่องเที่ยวทุกคน ไม่ลืมว่าเราต้องเที่ยวในวิถีใหม่ ที่เรียกกันว่า New Normal จะปฏิบัติตัวแบบเก่า คงไม่ได้อีกต่อไปแล้ว
พลักดันการใช้ มาตรการระยะห่างทางสังคม' (Social Distancing) ปลายเดือนมีนาคม มีการจำกัด การเดินทางระหว่างจังหวัดและระหว่างประเทศ ลดการให้บริการ ขนส่ง สาธารณะ และการใช้มาตรการระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) ซึ่งล้วนแล้วแต่ส่งผลกระทบต่อ ภาคเศรษฐกิจท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม หลังจากที่ดำเนินมาตรการอย่างเข้ม ข้น ทำให้สถานการณ์ต่างๆ มีแนวโน้มดีขึ้น เดือนเมษายน - ปัจจุบัน รัฐบาล ประกาศใช้มาตรการผ่อนปรนมาจนถึงปัจจุบัน เข้าสู่ระยะ 5 ซึ่งเปิดโกาสให้เกิดการเดินทาง ท่องเที่ยวภายในประเทศ มีการปิดให้มีการจัดประชุม สัมมนาการเดินทางโดยเครื่องบินสำหรับ การเดิน ทางในประเทศ และการเปิดให้บริการของร้านอาหารและสถานบันเทิง มาตรการกระตุ้นภาคการท่องเที่ยวไทย "เราเที่ยวด้วยกัน" คณะรัฐมนตรี ได้ให้ความเห็นชอบมาตรการกระตุ้นภาคการท่องเที่ยวไทย ในชื่อโครงการ "เราเที่ยวด้วย กัน" ที่เริ่มเปิดให้ลงทะเบียนแล้ว ตั้งแต่ 15 ก.ค.ที่ผ่านมา แต่ยังคงเน้นย้ำมาตรการวนระยะห่าง (Social Distancing) และการสวมหน้กากอนามัยทุกครั้งในที่สรารณะ รวมทั้งยังมีการจัดทำโครงการยกระดับ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยมาตรฐนความ ปลอดภัยด้านสุขอนามัย หรือที่เรียกว่า (Amazing Thailand Safety & Health Administration: SHA) เพื่อสร้างความมั่นใจให้นักท่องเที่ยวทั้งไทยและต่างชาติใน อนาคต
กลยุทธ์ทางด้านการท่องเที่ยวที่ควรให้ความสำคัญ ประกอบด้วย
1.การสร้งความร่วมมือทั้งในระดับประเทศ และระดับพื้นที่กับประเทศต้นทางที่มีประวัติติดเชื้อต่ำ (Travel Bubble) ควบคู่กับการทำตลาดเชิงรุก สร้างแบรนด์เมืองที่มีประวัติติดเชื้อต่ำหรือปลอดเชื้อ สำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวที่แสวงหาความปลอดภัยและต้องการอยู่แบบระยะยาวให้การเดินทางมา ประเทศไทย เป็น Hi Trip และ Hi Trust 2.เชื่อมโยงแพลตฟอร์มไทยนะซึ่สมารถติดตามผู้เดินทางกับแพลตฟอร์ม หรือแอปพลิเคชั่น ด้านกา ท่องเที่ยวเป็นภาษาต่างประเทศ 3.ปรับปรุงบริกรที่เกี่ยวเนื่องกับค้นการท่องเที่ยวให้มีมาตรฐนการให้บริการและสุขอนามัยครอบคลุม เพิ่มมากขึ้นตลอดท่วงโซ่อุปทาน เช่น บริการที่พักและบริการรถรับส่ง สาธารณะ เป็นต้น 4.สนับสนุนให้มีการฝึกอบมทักษะบุคลากรด้นการท่องเที่ยวที่เน้นด้านการดูแลสุขภาพ 5.ประสานความร่วมมือระหว่างกิจการขนาดเล็กในห่วงโซ่อุปทานให้สามารถอำนวย ความสะดวกให้แก่ก และกัน เช่น โรงแรมขนาดเล็กกับบริการฟิตนส หรือกับนวดแผนไทย ฯลฯ เป็นต้น 6.ออกแบบโครงข่ายการสัญจร และการไประโยชน์พื้นที่ในย่นท่องเที่ยวให้เหมาะกับนโยบาย Social Distancing เช่น การเดินหรือขี่จักรยานเพื่อหลีกเลี่ยงการใช้ขนส่ง พาหนะหรือการใช้รถทัวร์ขนาดใหญ่ 7.ยกระดับมาตรฐานด้นสาธารณูบโภคและความปลอดภัยของภาครัฐและการบังคับใช้ กฎ ระเบียบที่ เกี่ยวข้องอย่างเข้มข้น 8.ยกระดับระบบบริกาสาธารณสุขที่มีคุณภาพในตำบลที่มีนักท่องเที่ยวหนาแน่น โดยให้ได้มาตรฐาน สากลทั้งค้นความปลอดภัย และด้นสุขภาพสามารถบริการด้วยภาษาสากล 9.ปรับทางเข้ด่านและเทอร์มินอลต่งๆ ให้มีความแออัดลดล และปลอดภัยจากการติดเชื้อ 10.ปรับปรุงโรงแรมและที่พักให้เป็นสถานที่สำหรับกลุ่มปราะบาง ซึ่งครอบครัวต้องการให้อยู่ห่างจาก การติดเชื้อ เช่น ผู้ที่เป็นมะเร็ง และอยู่ในระยะพักพื้น ผู้สูงอายุที่มีโรคเบาหวานและความดันสูง เป็นต้น